Normalization คืออะไร ปรับช่วงข้อมูล Feature Scaling ด้วยวิธี Normalization, Standardization ก่อนเทรน Machine Learning – Preprocessing ep.2

การทำ Feature Scaling คือ วิธีการปรับช่วงขอบเขตของข้อมูลชนิดตัวเลข Cardinal แต่ละ Feature (Field) ให้อยู่ในช่วงเดียวกัน ที่เหมาะกับการนำไปประมวลผลต่อ เข้าสูตรคำนวณได้ง่าย เช่น ช่วง [0, 1] หรือ [-1, 1] ได้ผลลัพธ์อยู่ในช่วงที่กำหนด เรียกว่า Data Normalization นิยมทำในขั้นตอน Preprocessing จัดเตรียมข้อมูล ก่อนป้อนให้โมเดลใช้เทรน

Preprocessing คืออะไร สอนจัดการข้อมูลขาดหาย Missing Value วิธีเติมข้อมูลแทนค่า Null, NA, NaN ก่อนป้อนโมเดล เทรน Machine Learning – Preprocessing ep.1

จาก ep ก่อน ที่เราสอนเรื่อง ใช้ Deep Neural Network วิเคราะห์ข้อมูลแบบ Structure หรือข้อมูลแบบตาราง Tabular Data จะมีงานสำคัญที่ต้องทำก่อนเทรน คือการ Preprocessing จัดเตรียมข้อมูล ซึ่งมีหลายอย่าง เช่น Fillna, Normalize, Categorize, Clipping, Binning, Feature Engineering ต่าง ๆ , etc. ใน ep นี้เราจะมาเรียนรู้กันเรื่อง การจัดการกับข้อมูลไม่ครบ วิธีเติมค่าที่ขาดหายไป หรือ Null

ทดสอบ Metrics ของ Neural Network ด้วยข้อมูลจาก Validation Set ระหว่างการเทรน Machine Learning – Neural Network ep.8

ในการเทรน Machine Learning การทดสอบว่าโมเดล Neural Network ทำงานเป็นอย่างไร ที่ถูกต้องเราไม่ควรเทสกับข้อมูล ใน Training Set ที่เราป้อนให้โมเดลในขณะเทรน เพราะจะทำให้ไม่ได้ค่าที่แท้จริง ถ้าโมเดลใช้วิธีจำข้อสอบ เรียกว่า Overfit เมื่อเทสแล้วจะได้คะแนนสูงผิดปกติ ที่ถูกคือ เราควรเทสกับข้อมูลที่โมเดลไม่เคยเห็นมาก่อน ใน Validation Set ที่เรากันเอาไว้ก่อนหน้าที่จะเริ่มต้นเทรน

สับไพ่ข้อมูล DataLoader ด้วย Random Sampler และ Collate ป้อนโมเดล เทรน Machine Learning – Neural Network ep.7

ในแต่ละ Epoch ของการเทรน Machine Learning สอนโมเดล Deep Neural Network เราไม่ควรป้อนข้อมูลที่เรียงลำดับเหมือนกันทุกครั้งให้โมเดล ใน ep นี้เราจะมาสร้าง DataLoader เวอร์ชันใหม่ ที่จะสับไพ่ข้อมูลตัวอย่างก่อนป้อนให้โมเดล เป็นการลดการจำข้อสอบของโมเดล ช่วยให้โมเดล Generalization ได้ดีขึ้น ลด Variance ของโมเดล

Refactor สร้าง Optimizer สำหรับอัพเดท Parameter ของ Neural Network ในการเทรน Deep Learning – Neural Network ep.6

ใน ep นี้เราจะมา Refactor Model สร้าง Module, Parameter และ Optimizer เป็น Abstraction ในจัดการการอัพเดท Parameter ของโมเดล ด้วยอัลกอริทึมต่าง ๆ เพื่อลดความซับซ้อน ของ Training Loop ทำให้การเทรน Neural Network ยืดหยุ่นขึ้น เราจะใช้โค้ดจาก Neural Network ep 5 เป็นโค้ดเริ่มต้น นำมา Refactor ต่อ

Visualization เจาะลึกภายใน Neural Network วิเคราะห์ Activation และ Gradient ด้วย Heatmap และ Grad-CAM – ConvNet ep.4

หลาย ๆ คนจะมองว่า Neural Network เป็นเหมือนกล่องดำ ข้างในมีแต่ตัวเลข เมตริก เทนเซอร์ Neuron, Activation, Gradient วิ่งไปวิ่งมา โดยที่เราไม่รู้ว่า Logic การทำงานภายในของมันเป็นอย่างไร ไม่สามารถเข้าใจได้ แต่เราสามารถใช้เทคนิค Grad-CAM มาช่วยในการตีความ Activation และ Gradient ของโมเดล ทำให้เข้าใจถึงการทำงานภายใน Neural Network มากขึ้น ว่าโมเดลพิจารณาจากบริเวณไหน Attention โฟกัสส่วนไหน เป็นพิเศษ

ใช้ Dataset, DataLoader ป้อนข้อมูลให้ Neural Network ทีละ Batch สอน Refactor Training Loop – Neural Network ep.5

ใน ep นี้เราจะมาสร้าง Dataset และ DataLoader เพื่อเป็น Abstraction ในจัดการข้อมูลตัวอย่าง x, y จาก Training Set, Validation Set ที่เราจะป้อนให้กับ Neural Network ใช้เทรน ใน Training Loop ของ Machine Learning

สร้าง Training Loop แบบง่าย เริ่มต้นเทรน Neural Network ด้วย Mini-Batch SGD – Neural Network ep.4

ใน ep นี้ เราจะมาสร้าง Neural Network สำหรับงาน Classification ด้วยการประกอบชิ้นส่วนทุกอย่างใน ep ก่อน ๆ เข้าด้วยกัน ขึ้นมาเป็น 2 Layers Deep Neural Network ใช้ ReLU Activation Function พร้อม Initialize Weight และ Bias

Confusion Matrix คืออะไร Metrics คืออะไร Accuracy, Precision, Recall, F1 Score ต่างกันอย่างไร – Metrics ep.1

ใน Machine Learning เมื่อเราเทรนโมเดลใช้ในงานต่าง ๆ เราจะมีการคำนวน Metrics เพื่อแสดงผลให้ผู้ใช้ทราบว่า โมเดลนั้น ๆ ทำงานได้ดีแค่ไหน ที่เป็นที่นิยมได้แก่ Accuracy, Precision, Recall และ F1 Score โดยทั้งหมดเราสามารถคำนวนได้จาก Confusion Matrix หรือ Error Matrix

Cross Entropy Loss คืออะไร Logistic Regression คืออะไร Log Loss คืออะไร – Loss Function ep.3

ใน ep ก่อนเราพูดถึง Loss Function สำหรับงาน Regression กันไปแล้ว ในตอนนี้เราจะมาพูดถึง Loss Function อีกแบบหนึ่ง ที่สำคัญไม่แพ้กัน ก็คือ Loss Function สำหรับงาน Classification เรียกว่า Cross Entropy Loss หรือ Logistic Regression