Transformer คืออะไร Self-Attention คืออะไร สอน Neural Machine Translation แปลภาษาฝรั่งเศส เป็นภาษาอังกฤษ ด้วย Transformer – NLP ep.12

จาก ep ที่แล้ว Neural Machine Translation แปลภาษาฝรั่งเศส เป็นภาษาอังกฤษ ด้วย Sequence to Sequence RNN/GRU Model และ Attention ใน ep นี้ เราจะมาเรียนรู้เรื่อง NLP ในงาน Neural Machine Translation กันต่อ แต่แทนที่จะใช้ RNN เหมือน ep ก่อน ๆ ใน ep นี้เราจะใช้สถาปัตยกรรมใหม่ ที่เรียกว่า Transformer ที่เน้น Attention แทนการใช้ RNN ว่าจะมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอย่างไร

Attention Mechanism คืออะไร ใน Neural Network สอน Neural Machine Translation แปลภาษาฝรั่งเศส เป็นภาษาอังกฤษ ด้วย Sequence to Sequence RNN Model และ Attention Mechanism – NLP ep.11

จาก ep ที่แล้ว Neural Machine Translation แปลภาษาฝรั่งเศส เป็นภาษาอังกฤษ ด้วย Sequence to Sequence RNN Model ใน ep นี้ เราจะมาเรียนรู้ Neural Machine Translation กันต่อ แต่จะใช้เทคนิคที่เรียกว่า Attention Mechanism มาเพิ่มประสิทธิภาพของโมเดล

โมเดล Sequence to Sequence คืออะไร Neural Machine Translation แปลภาษาฝรั่งเศส เป็นภาษาอังกฤษ ด้วย Sequence to Sequence RNN Model เทรนด้วย Teacher Forcing – NLP ep.10

ใน ep นี้เราจะเรียนรู้งานที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งใน NLP คือ งานแปลภาษาด้วยเครื่อง หรือ Machine Translation หรือ Neural Machine Transation โดยใช้โมเดลแบบ Sequence to Sequence Recurrent Neural Network (RNN)

ตัวอย่าง Callback ในการเทรน Machine Learning คำนวน Metrics, Recorder บันทึก Loss, Learning Rate – Neural Network ep.11

จาก ep ที่แล้ว ที่เราประยุกต์ใช้ Callback กับ Training Loop ในการเทรน Machine Learning ด้วยอัลกอริทึม Gradient Descent สร้างเป็น Runner Class ที่มี Callback ในทุก ๆ Event ที่เป็นไปได้ ในการเทรน Deep Neural Network แล้วเราจะใช้ประโยชน์จาก ระบบ Callback อันแสนยืดหยุ่นนี้ อย่างไรได้บ้าง ใน ep นี้เราจะมาดูตัวอย่างการสร้าง Callback แบบง่าย ๆ แต่มีประโยชน์ คือการ คำนวน Metrics และ บันทึกค่า Loss, Learning Rate

Refactor โค้ด Neural Network สร้าง DataBunch และ Learner ปรับปรุง Training Loop – Neural Network ep.9

ใน ep ที่แล้วเราได้ Neural Network และ Training Loop ที่ทำงานได้ดีพอสมควร มีการวัดผล Metrics กับข้อมูลใน Validation Set เพื่อให้แน่ใจว่าโมเดลทำงานได้ถูกต้องกับข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อน แต่โค้ด Training Loop ของเรายังมีความซับซ้อนเกินไป ใช้ Parameter จากภายนอกถึง 6 ตัว ซึ่งมากเกินไป ทำให้ยากต่อการต่อยอดเทรนในอัลกอริทึมที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น แล้วเราจะแก้ไขอย่างไร

ทดสอบ Metrics ของ Neural Network ด้วยข้อมูลจาก Validation Set ระหว่างการเทรน Machine Learning – Neural Network ep.8

ในการเทรน Machine Learning การทดสอบว่าโมเดล Neural Network ทำงานเป็นอย่างไร ที่ถูกต้องเราไม่ควรเทสกับข้อมูล ใน Training Set ที่เราป้อนให้โมเดลในขณะเทรน เพราะจะทำให้ไม่ได้ค่าที่แท้จริง ถ้าโมเดลใช้วิธีจำข้อสอบ เรียกว่า Overfit เมื่อเทสแล้วจะได้คะแนนสูงผิดปกติ ที่ถูกคือ เราควรเทสกับข้อมูลที่โมเดลไม่เคยเห็นมาก่อน ใน Validation Set ที่เรากันเอาไว้ก่อนหน้าที่จะเริ่มต้นเทรน

สร้าง Training Loop แบบง่าย เริ่มต้นเทรน Neural Network ด้วย Mini-Batch SGD – Neural Network ep.4

ใน ep นี้ เราจะมาสร้าง Neural Network สำหรับงาน Classification ด้วยการประกอบชิ้นส่วนทุกอย่างใน ep ก่อน ๆ เข้าด้วยกัน ขึ้นมาเป็น 2 Layers Deep Neural Network ใช้ ReLU Activation Function พร้อม Initialize Weight และ Bias

Confusion Matrix คืออะไร Metrics คืออะไร Accuracy, Precision, Recall, F1 Score ต่างกันอย่างไร – Metrics ep.1

ใน Machine Learning เมื่อเราเทรนโมเดลใช้ในงานต่าง ๆ เราจะมีการคำนวน Metrics เพื่อแสดงผลให้ผู้ใช้ทราบว่า โมเดลนั้น ๆ ทำงานได้ดีแค่ไหน ที่เป็นที่นิยมได้แก่ Accuracy, Precision, Recall และ F1 Score โดยทั้งหมดเราสามารถคำนวนได้จาก Confusion Matrix หรือ Error Matrix