สอน TensorFlow.js สร้าง Convolutional Neural Network (ConvNet, CNN) จำแนกรูปภาพ ตัวเลขลายมือ MNIST ทำ Visualization ด้วย tfvis – tfjs ep.4

ใน ep นี้เราจะสร้าง Convolutional Neural Network (ConvNet, CNN) ด้วย TensorFlow.js สำหรับจำแนกรูปภาพ ตัวเลขลายมือ MNIST Dataset ทำ Visualization ด้วย tfvis และนอกจากนั้นเราจะเรียนรู้เทคนิค Sprite Sheet ที่จะช่วยแก้ปัญหาดาวน์โหลดข้อมูลใหม่ทุก Epoch ที่เราพบใน ep ที่แล้ว

ตัวอย่างการใช้ PyTorch Hook วิเคราะห์ Mean, Standard Deviation, Histogram ของ Activation Map ปรับปรุงการเทรน Deep Learning ด้วย GeneralReLU – ConvNet ep.3

จากใน ep ที่แล้วเราได้เรียนรู้การใช้งาน PyTorch Hook ใน ep นี้เราจะมา Refactor โค้ดสร้าง Class ขึ้นมาจัดการ Hook และใช้ Hook สถิติ ที่ลึกมากขึ้น เราจะวิเคราะห์กราฟ Mean, Std และ Histogram จะเห็นว่าค่อนข้าง Converge เร็ว ไม่เกิด Vanishing Gradient เนื่องจาก PyTorch ได้แก้ปัญหาไปแล้วด้วย Kaiming Initialization แต่ก็ยังมีปัญหาอื่น ๆ อยู่ในช่วงแรก ๆ แล้วเราจะแก้ปัญหานี้อย่างไร

PyTorch Hook คืออะไร สอน PyTorch Hook เจาะลึก Activation Map, Gradient ภายใน Deep Convolutional Neural Network – ConvNet ep.2

จากใน ep ก่อน ๆ ที่เราได้นำ Callback มาประยุกต์ใช้ใน Training Loop เพื่อช่วยให้การเทรนมีความยืดหยุ่น แต่ติดข้อจำกัดว่าเราไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลภายในโมเดล Deep Neural Network ในแต่ละ Layer ได้ เนื่องจากการสร้างโมเดลของเราเป็นการเรียกใช้ API ภาษา Python ของ PyTorch แล้วเราจะแก้ปัญหานี้อย่างไรดี

Convolutional Neural Network คืออะไร ภาษาไทย ตัวอย่างการทำงาน CNN, ConvNet กับชุดข้อมูล MNIST – ConvNet ep.1

ใน ep ที่แล้ว Neural Network ep.13 ที่เราได้สร้างโมเดล Deep Neural Network ที่ใช้ Linear Layer + ReLU Activation Function เราได้สร้าง Training Loop ที่มีความ Flexible จาก Callback ทำให้เราสามารถ Schedule Hyperparameter ได้ตามต้องการ แต่ไม่ว่าจะเทรนอย่างไร เราก็จำแนก MNIST ได้ Accuracy สูงสุดแค่ 97% เท่านั้น เนื่องจากข้อจำกัดของ Model Architecture แล้วเราจะแก้ปัญหานี้อย่างไรดี

Schedule Hyperparameter ในการเทรน Machine Learning เทรนโมเดล Deep Neural Network ด้วย Learning Rate ไม่คงที่ One Cycle – Neural Network ep.13

หลังจากที่ใน ep ก่อน เราได้ใช้ LR_Find Callback หา Learning Rate ที่ดีที่สุดได้แล้ว แล้วเราจะนำมาใช้อย่างไร Learning Rate ถือว่าเป็นหนึ่งใน Hyperparameter ที่สำคัญที่สุดในการเทรน Machine Learning มีแนวคิดจากหลากหลาย Paper ที่ว่า ในแต่ละ State ของการเทรน Deep Neural Network นั้นต้องการ Hyperparameter ต่างกันไป แล้วเราจะ Schedule Hyperparameter ของเราได้อย่างไร

lr_find หา Learning Rate ที่ดีที่สุดในการเทรน Machine Learning โมเดล Deep Neural Network ด้วย Callback – Neural Network ep.12

จาก ep ก่อน เราได้รู้จัก Hyperparameter ที่สำคัญที่สุดในการเทรน Machine Learning ชื่อ Learning Rate แต่ปัญหาคือ ถ้าเรากำหนดค่า Learning น้อยไปก็ทำให้เทรนได้ช้า แต่ถ้ามากเกินไปก็ทำให้ไม่ Converge หรืออาจจะ Error ไปเลย แล้วเราจะมีวิธีใด ที่จะหาค่า Learning Rate ที่ดีที่สุด มาใช้เทรน Deep Neural Network ของเรา

ตัวอย่าง Callback ในการเทรน Machine Learning คำนวน Metrics, Recorder บันทึก Loss, Learning Rate – Neural Network ep.11

จาก ep ที่แล้ว ที่เราประยุกต์ใช้ Callback กับ Training Loop ในการเทรน Machine Learning ด้วยอัลกอริทึม Gradient Descent สร้างเป็น Runner Class ที่มี Callback ในทุก ๆ Event ที่เป็นไปได้ ในการเทรน Deep Neural Network แล้วเราจะใช้ประโยชน์จาก ระบบ Callback อันแสนยืดหยุ่นนี้ อย่างไรได้บ้าง ใน ep นี้เราจะมาดูตัวอย่างการสร้าง Callback แบบง่าย ๆ แต่มีประโยชน์ คือการ คำนวน Metrics และ บันทึกค่า Loss, Learning Rate

การประยุกต์ใช้ Callback เพิ่มความยืดหยุดให้ Training Loop รองรับการเทรนด้วย Algorithm ซับซ้อนขึ้น – Neural Network ep.10

จาก ep ก่อน ๆ เราจะได้ Training Loop ที่สามารถเทรน Neural Network ได้อย่างถูกต้อง สมบูรณ์ ได้ผลลัพธ์เป็นที่หน้าพอใจ แต่ถ้าเราต้องการเพิ่มเติม Logic การเทรนที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เราจะต้องแก้โค้ดนี้ แทรกตามบรรทัดต่าง ๆ เช่น ก่อนเริ่มเทรน, ก่อนเริ่ม Epoch, หลังจากจบ 1 Epoch, etc. ข้อเสียของการแทรกโค้ดแบบนี้ คือ ทำให้โค้ดใน Loop นี้ก็จะบวมขึ้นเรื่อย ๆ ส่งผลให้มีปัญหาในการ Maintain แล้วเราจะแก้ปัญหานี้อย่างไรดี

Callback Function คืออะไร สอนเขียน Callback ฟังก์ชั่น ตัวอย่างการใช้งาน Callback ในภาษา Python – Python ep.6

ในภาษา Python เราสามารถส่งโค้ดเป็น Parameter ไปให้ฟังก์ชันอื่นเรียก เมื่อเกิดเหตุการณ์บางอย่าง เรียกว่า Callback การที่เราส่งโค้ดฟังก์ชันอะไรก็ได้ ไปให้คนอื่นเรียกเวลาที่เกิดเหตุการณ์อะไรสักอย่าง ทำให้เราสามารถกำหนดพฤติกรรมตอบสนองต่อเหตุการณ์นั้น ได้อย่าง Dynamic

Visualization เจาะลึกภายใน Neural Network วิเคราะห์ Activation และ Gradient ด้วย Heatmap และ Grad-CAM – ConvNet ep.4

หลาย ๆ คนจะมองว่า Neural Network เป็นเหมือนกล่องดำ ข้างในมีแต่ตัวเลข เมตริก เทนเซอร์ Neuron, Activation, Gradient วิ่งไปวิ่งมา โดยที่เราไม่รู้ว่า Logic การทำงานภายในของมันเป็นอย่างไร ไม่สามารถเข้าใจได้ แต่เราสามารถใช้เทคนิค Grad-CAM มาช่วยในการตีความ Activation และ Gradient ของโมเดล ทำให้เข้าใจถึงการทำงานภายใน Neural Network มากขึ้น ว่าโมเดลพิจารณาจากบริเวณไหน Attention โฟกัสส่วนไหน เป็นพิเศษ