Pandas_UI เครื่องมือจัดการ Pandas DataFrame แบบง่าย ๆ – Pandas ep.7

ใน ep ที่แล้ว เราใช้ Pandas Profiling ในการช่วยทำการสำรวจข้อมูล Exploratory Data Analysis (EDA) แต่ถ้าเราต้องการเปลี่ยนแปลงข้อมูลนิด ๆ หน่อย ๆ หรือเราต้องการพล็อตกราฟที่ใน Pandas Profiling ไม่มีมาให้ล่ะ จะทำอย่างไร เราสามารถใช้ Pandas_UI มาช่วยได้

Customer Segmentation คืออะไร สอนทฤษฎี Machine Learning หลักการ สร้าง Segment Profile กลุ่มลูกค้า, Customer Profile การแบ่งกลุ่มลูกค้า ด้วย K-Means Clustering – Tabular Data ep.4

ใน ep นี้ เราจะมาวิเคราะห์ Customer Segment สอนทฤษฎี Machine Learning การแบ่งกลุ่มลูกค้า Customer Segmentation หรือ Market Segmentation หลักการ สร้าง Segment Profile กลุ่มลูกค้า, Customer Profile ด้วย K-Means Clustering ซึ่งเป็น Machine Learning แบบ Unsupervised Learning เป็น Algorithm ที่เรียบง่าย และนิยมใช้ใงาน Customer Relationship Management, Business Model Canvas

Sentiment Classification วิเคราะห์รีวิวหนัง IMDB แง่บวก แง่ลบ ด้วย Naive Bayes และ Logistic Regression – NLP ep.5

ใน ep นี้ เราจะใช้ความรู้จาก ep ก่อน ในการสร้าง Term-Document Matrix ด้วย CountVectorizer ด้วยข้อมูลรีวิวหนัง IMDB แล้วนำ Term-Document Matrix ที่ได้ มาวิเคราะห์ Sentiment Classification ว่าเป็นรีวิวแง่บวก หรือแง่ลบ (positive/negative) ด้วยเทคนิค Naive Bayes และ Logistic Regression

Latent Semantic Analysis (LSA) คืออะไร Text Classification ด้วย Singular Value Decomposition (SVD), Non-negative Matrix Factorization (NMF) – NLP ep.4

ใน ep นี้ เราจะมาเรียนรู้ งานจำแนกหมวดหมู่ข้อความ Text Classification ซึ่งเป็นงานพื้นฐานทางด้าน NLP ด้วยการทำ Latent Semantic Analysis (LSA) วิเคราะห์หาความหมายที่แฝงอยู่ในข้อความ โดยใช้เทคนิค Singular Value Decomposition (SVD) และ Non-negative Matrix Factorization (NMF)

จัดการหมวดหมู่เล็ก ๆ ยิบย่อย รวมข้อมูลหมวดหมู่ Category เล็ก ๆ เป็นหมวดหมู่ Other ก่อนป้อนเทรน Machine Learning – Preprocessing ep.4

ในหลาย ๆ Dataset เราจะพบว่าข้อมูลแบบ Category มีการแตกยิบย่อยมากเกินไป เช่น บาง Category มีแค่ 1 หรือ 2 Record เท่านั้น หรือ Category เล็ก จำนวน Record แตกต่างกับ Category ใหญ่ ๆ หลายร้อย หลายพันเท่า ข้อมูล Category เล็ก ๆ ยิบย่อยเหล่านี้ อาจจะไม่ได้ช่วยโมเดล Machine Learning ในการเรียนรู้ก็ได้ ทางแก้คือ เราจะ Group รวม Category เล็ก ๆ เหล่านั้นรวมออกมาเป็น Category ใหม่ ตั้งชื่อว่า Other

สำรวจข้อมูล Exploratory Data Analysis (EDA) ด้วย Pandas Profiling วิเคราะห์ Pandas DataFrame – Pandas ep.6

เมื่อเราได้ Dataset ใหม่มา สิ่งแรกที่เราควรทำ คือ Exploratory Data Analysis (EDA) ทำความเข้าใจข้อมูล ในแต่ละ Feaure เช่น ข้อมูลเป็นชนิดอะไร, ข้อมูลเป็นแบบต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่อง, ช่วงของข้อมูลกว้างแค่ไหน, การกระจายของข้อมูลเป็นอย่างไร, มีข้อมูลขาดหายไปเยอะแค่ไหน, แต่ละ Feature เชื่อมโยงกันอย่างไร การวิเคราะห์ทั้งหมดนี้ค่อนข้างซับซ้อน และซ้ำซ้อนเหมือนกันในทุก ๆ Dataset จะมีวิธีไหนที่จะทำให้งานซ้ำ ๆ เหล่านี้ง่ายขึ้น

สอน Machine Learning วิเคราะห์ข้อมูลแบบ Time Series Forecasting พยากรณ์ยอดขายร้านขายยา Rossmann ด้วย Deep Neural Network – Tabular Data ep.3

จาก ep ที่แล้วที่เราเรียนรู้เรื่อง Feature Engineering แบบ Basic กันไปแล้ว ใน ep นี้เราจะมาศึกษาข้อมูลที่เราพบบ่อย ๆ ในการทำงานอีกเช่นกัน คือ ข้อมูลแบบ Time Series เราจะสอนโมเดล Machine Learning ให้เรียนรู้จากข้อมูล Time Series ได้อย่างไร ให้ Forecast พยากรณ์ยอดขายร้านขายยา Rossmann ได้ความแม่นยำมากที่สุด และจำเป็นต้องใช้ Deep Neural Network แบบ Recurrent Neural Network (RNN) หรือไม่