สอน Machine Learning เปรียบเทียบ Deep Learning ระหว่าง ResNet34 และ ResNet50 ในการจำแนกพันธุ์ หมา แมว – Image Classification ep.2

จาก ตอนที่แล้ว ที่เราทำ Image Classification ด้วย ResNet34 ซึ่งมี 34 Layer คราวนี้เราจะมาลองใช้โมเดล ResNet50 ซึ่งเป็นโมเดลตระกูลเดียวกัน แต่มีขนาดใหญ่ขึ้น ซับซ้อนขึ้น เพิ่มความ Deep เป็น 50 Layer ว่าจะเป็นอย่างไร

AI จำแนกรูปภาพ หมา แมว 37 สายพันธุ์ ใช้ Pet Dataset เทรน Machine Learning สร้างโมเดล Deep Neural Network ด้วย fastai ภาษา Python – Image Classification ep.1

ใน ep นี้ เราจะมาเรียนรู้วิธีการใช้ Deep Learning โดยสร้างโมเดล Deep Neural Network ขึ้นมา แล้วเราป้อนข้อมูลให้ว่า รูปนี้ คือสายพันธุ์นี้ รูปนี้ คือสายพันธุ์นี้ รูปนี้ คือสายพันธุ์นี้ … แล้วให้โมเดลเรียนรู้ด้วยตัวเอง (Machine Learning) และจนสามารถทำนายสายพันธุ์ หมา และ แมว Image Classification จากรูป ที่โมเดลไม่เคยเห็นมาก่อนได้

ทิป เทคนิค การใช้งาน Jupyter Notebook ep.4

ในการใช้งาน Jupyter Notebook ประจำวัน บางครั้งอาจจะติดปัญหา ยังไม่ชินในการใช้งานแนวคิดสไตล์ Notebook วันนี้เรามาแนะนำ ทิป เทคนิคในการใช้งาน Jupyter Notebook ให้เราสามารถใช้งานได้สะดวกยิ่งขึ้น

สอนการใช้งาน Jupyter Notebook ขั้นสูง Jupyter Notebook ep.3

ต่อมาเราจะมาเรียนรู้การใช้งาน Jupyter Notebook แบบขั้นสูงขึ้นมา ตั้งแต่การสร้าง Notebook ใหม่, การเขียนภาษา Markdown เพื่อทำ Formatting ใน cell markdown, การเขียนโปรแกรม Python ใน cell code แล้ว Save ผลลัพธ์ Out ไว้แชร์ต่อ, คำสั่งพิเศษ Magic Commands, การเรียกดูเอกสาร API (Help)

สอนการใช้งาน Jupyter Notebook เบื้องต้น Jupyter Notebook ep.2

วันนี้เราจะมาเริ่มเรียนรู้การใช้งาน Jupyter Notebook เบี้องต้นกัน เริ่มตั้งแต่ส่วนต่าง ๆ ของ Notebook ไปจนเขียน Markdown, เขียนโปรแกรม Python เรียนรู้การใช้งานโหมดต่าง ๆ ของ Jupyter Notebook รวมไปถึงคีย์ลัดที่มักใช้บ่อย ทำให้เราใช้งานได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น

Jupyter Notebook คืออะไร แนะนำ Jupyter Notebook ep.1

Jupyter Notebook คือ หน้าเว็บที่ประกอบด้วย ช่อง ๆ cell เรียงต่อกันลงไป โดยแต่ละ cell สามารถเป็นเนื้อหา static content ต่าง ๆ เช่น ข้อความ รูปภาพ กราฟ วิดีโอ เสียง หรือ เป็นโค้ดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษา Python ที่สามารถรันคำสั่งประมวลผล แสดงผลลัพท์ออกมาได้จริง ๆ ซึ่งโดยปกติการเขียนโปรแกรมทั่วไป เราจะมองไฟล์ Source Code 1 ไฟล์ เป็นหน่วยเดียว เราไม่สามารถแยกสั่งรันบางบรรทัดได้ง่าย ๆ และเรามักจะแยก Source Code กับเอกสารออกจากกัน หรือบางทีก็จะใส่เป็นข้อความง่าย ๆ ไม่มีรูปประกอบไม่มีตัวหนาตัวเอียง ไว้ใน Comment ตอนต้นของไฟล์ หรือต้นฟังก์ชัน